วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1.ระบบปฏิบัติการ (Oparating System:os)
2.ตัวแปลภาษา
1. ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า โอเอส (Oparating System:os) เป็น
ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟตืแวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รูจักกันดีเช้น ดอส วินดดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น

1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
1) ดอส (Disk Operating System:DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฏิบัติการดอสนั้มีการใช้งานน้อยมาก

1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
2) วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถทำงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระ เพียงอย่างเดียวระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ระงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผุ้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลื่อกตำแหน่งที่ปรากกบนจอภาพทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่ายระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
3) ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กลับเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ ไม่ต้องผูกติดกับระบบ ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบเพื่อการตอนสนองการใช้งานใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน ผู้ใช้ (multiusers) และสามารถทำงานได้หลายๆงานในเวลาเดียวกัน ระบบภาระกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆ  เครื่องพร้อมกัน
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
4) ลีนุกซ์ (linux) เป็นระบบปฏิบัติงานที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ โปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน ในระบบต่างๆทำงานแบบลีนุกซ์กันเป็นจำนวนมากโดยอย่างยิ่งโปรแกรมกลุ่มกูส์นิว (GNU) และสิ่งสำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี(Free Ware) ผูใช้สามารถใช้งานได้โดยได้เลยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล เช่น อินเทล (PC Intel) fb0b9v] (Digital Alpha Computer) และสันสปาร์ค ถึงแม้ในขณะนี้ลีนุกซืยังไมสามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวซ์ บนซีพีได้ทั้งหมดก็ตามแด่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนรีนุกส์กันมากขึ้น
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
5) แมคอินทอช (macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนำมาใช้แบบกราฟิก
นอกจากระบบปฏิบัติการยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่นระบบปฏิบัติการในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้เฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาใหม่ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา
ชนิดของระบบปฏิบัติการ สามารถจำแนกออกเป็น3 ชนิดด้วยกันคือ
1. ประเภทใช้งานเดียว (Single-tasking)
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น
2.ประเภทใช้งานหลายงาน (Multi-tasking)
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถใช้งานได้หลายงานในเวลาเดียวกัน เช่นระบบปฏิบัติการ Windows98 ขึ้นไป และ UNIX เป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน  (Multi-user)
.ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่สามารถใช้พร้อมกันได้หลายคนแต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผูใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลาเช่นระบบปฏิบัติการ Windows NT และ UNIX เป็นต้น
2. ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยซอฟแวร์ที่ใช้การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
   ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่ง ได้ง่าย เข้าใจได้
ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปร ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่ basic.pascal. C และภาษาโลโก เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากได้แก่ Fortran.Cobol.และภาษาอาร์พีจี
      2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
(Application Software)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกันคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้านเช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น2ประเภท คือ
 1.ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ
(Proprietary Software)
 2.ซอฟแวร์ที่หาซื่อได้ทั่วไป (Packaged Software)
มีโปรแกรมเฉพาะ และโปรแกรมมาตรฐาน (Stannbard Package)
ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มใช้งาน จำแนกได้3 กลุ่มใหญ่ๆ
1.กลุ่มการใช้งานทางธุรกิจ
(Business)
2.กลุ่มด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย (Graphic Multimedia)
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ (Web and Communications)
กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ(Business)
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ ถูกนำใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการนำเสนองานและการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น : โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft . Word. Sun Staroffice Writer
โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ Microsoft  Excel.Sun Staroffice Cals
โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ Microsoft Powerpont.Sun Staroffice Impress
กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดียเพื่อใช้งานมากขึ้น เช่นการตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft  Visio Professional
โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CorelDRAW.Adobe Photoshop
โปรแกรมตัดต่อวิดีโอและเสียง Adobe Premiara.Pinnacle studio DV
โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware .Toolbook Instructor. Adobe Director
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash. Adobe Dreamwerver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟแวร์กลุ่มนีไดพัฒนาใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คอีเมล การท่องเว็บ การจัดการดูแลเว็บ เป็นต้น
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Outlook.Mozzila Thunderbird
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิMicrosoft   Internet Explorer Mozzila Firefox
โปรแกรมประชุมทางไกล(Video Confarence) อาทิMicrosoft   Netmeeting
โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Internet Messaging) อาทิ MSN Messenger/Windows Messanger.ICQ
โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH.MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟแวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้ ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ เรียกว่าภาษาระดับสูง ภาษาระดับสูงมีมากมาย บางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์และวิทยาศาตร์บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น